Normalization


นอร์แมลไลเซชั่น

ในการหาค่าคงที่ และ ฟังก์ชั่นไอเกนนอร์แมลไล (Normalized eigenfunction) จะใช้เงื่อนไขการนอร์แมลไลเซชั่น(Normalization condition) เมื่อ มีความหมายเป็น ความหนาแน่นของความน่าจะเป็นที่จะพบอนุภาค(Probability density) ในขณะที่ คือโอกาสที่จะพบอนุภาคในช่วง ถึง หากต้องการหาโอกาสที่จะพบอนุภาคในทุก ๆ ที่ในปริภูมิ จะได้ว่า

                                                                     (15)

การแทนขอบเขตของการอินทิเกรตเป็น คือการหาโอกาสที่จะพบอนุภาคในทุกบริเวณของปริภูมิ และผลที่ได้ต้องมีค่าเท่ากับ 1 หมายความว่าถ้ามีอนุภาคอยู่ในปริภูมิ ต้องมีโอกาสที่จะหาพบได้ในที่ใดที่หนึ่งในปริภูมินั้นแน่นอน สำหรับกรณีบ่อศักย์อนันต์ จะได้ว่า


                  (16)

ขอบเขตของการอินทิเกรตเหลือเพียง เนื่องจาก ที่บริเวณอื่น ๆ ฟังก์ชั่นคลื่นมีค่าเป็นศูนย์
โดยการใช้เอกลักษณ์ของตรีโกณ


จะได้ว่า


                                                                                                                   (17)

ดังนั้น ค่าคงที่ของการนอร์แมลไล คือ

                                                                                  (18)

และฟังก์ชั่นไอเกนนอร์แมลไล เขียนได้เป็น

                                                       (19)

เมื่อ โดยฟังก์ชั่นคลื่นหรือฟังก์ชั่นไอเกนนอร์แมลไลที่ได้นี้มีได้หลายค่า ขึ้นอยู่กับค่า ดังนั้น จึงเรียกชื่อในทางกลศาสตร์ควอนตัมว่า "สถานะ (state)" ฟังก์ชั่นคลื่นที่ค่า แต่ละค่า จะเป็นตัวแทนของแต่ละสถานะของระบบ ซึ่งสามารถแสดงให้เห็นได้ดังตัวอย่างในภาพที่ 2

ภาพที่ 2 : แสดง 3 สถานะแรกของอนุภาคมวล m ที่โดนขังอยู่ภายในบ่อศักย์อนันต์

เมื่อเส้นกราฟคือรูปร่างของฟังก์ชั่นคลื่น ในขณะที่แถบสีแสดงถึงความหนาแน่นของความน่าจะเป็นของแต่ละบริเวณที่จะพบอนุภาคภายในบ่อ

ยกตัวอย่างเช่น ถ้าเป็นสถานะที่ จะมีความหนาแน่นที่บริเวณตรงกลางและหนาแน่นน้อยลงที่บริเวณส่วนขอบแต่ละข้าง นั่นคือโอกาสที่จะพบอนุภาคในบริเวณส่วนกลางของบ่อมีมากที่สุด ในขณะที่สถานะที่ และ การกระจายของความหนาแน่นภายในบ่อจะแตกต่างกันออกไป

Infinite square well (particle in a box) - Slide.

[1] The Schrodinger equation in 1 D
[2] Infinite square well potential
[3] Solution of TISE
[4] Boundary condition
[5] Normalization
[6] Energy