
ผลเฉลยของสมการชเรอดิงเงอร์
พิจารณาหาผลเฉลยทั่วไปของสมการชเรอดิงเงอร์ในแต่ละบริเวณ ดังนี้
บริเวณ
เนื่องจากพลังงานศักย์มีค่าเป็นอนันต์ ทำให้เทอม
มีค่าใหญ่กว่าเทอมอื่นมาก ๆ จึงสามารถตัดเทอมอื่นทิ้งได้ จะได้ว่า
แต่เนื่องจาก
ดังนั้น
บริเวณ
ทำนองเดียวกันกับบริเวณที่
จะได้ว่า
จะเห็นว่าบริเวณภายนอกบ่อมีฟังก์ชั่นคลื่นเป็นศูนย์ทั้งสองบริเวณ เมื่อหาค่า
หรือ ความหนาแน่นของความน่าจะเป็นที่จะพบอนุภาค(Probability density) ย่อมมีค่าเป็นศูนย์ด้วย สอดคล้องกับสถานการณ์ที่เมื่ออนุภาคถูกกักขังอยู่ภายในบ่อและไม่สามารถออกไปภายนอกบ่อได้แล้ว โอกาสที่จะพบอนุภาคบริเวณภายนอกบ่อนั้นย่อมไม่มีหรือเป็นศูนย์
บริเวณ
เนื่องจากพลังงานศักย์ในบริเวณภายในบ่อมีค่าเป็นศูนย์ สมการชเรอดิงเงอร์จึงลดรูปเหลือ
หรือ
ให้
จะได้ว่า
สังเกตว่าสมการชเรอดิงเงอร์เป็นสมการเชิงอนุพันธ์อันดับที่ 2 การหาผลเฉลยสามารถทำได้หลากหลายวิธี และหนึ่งในนั้นคือการเดาผลเฉลยขึ้นมาแล้วแทนลงไปในสมการตั้งต้น เมื่อแทนเข้าไปแล้วหากทำให้สมการเป็นจริงก็แสดงว่าผลเฉลยนั้นเป็นผลเฉลยของสมการตั้งต้น โดยในกรณีนี้ทดลองเดาผลเฉลยที่เมื่อหาอนุพันธ์สองครั้งแล้วได้กลับมาเป็นฟังก์ชั่นเดิมคือ
จะได้ว่าผลเฉลยที่เป็นไปได้มี 2 ฟังก์ชั่นด้วยกัน คือ
และ
เนื่องจากทำให้สมการตั้งต้นเป็นจริง ในขณะที่ ฟังก์ชั่น exponential นั้น เครื่องหมายที่ได้ออกมาเป็นบวกขัดกับสมการตั้งต้นที่จะต้องมีเครื่องหมายเป็นลบจึงไม่ใช่ผลเฉลยของสมการ ดังนั้นเราจะได้ผลเฉลยของสมการชเรอดิงเงอร์ในรูปทั่วไป คือ
เมื่อ
และ
เป็นค่าคงที่ใด ๆ
Infinite square well (particle in a box) - Slide.
[1] The Schrodinger equation in 1 D
[2] Infinite square well potential
[3] Solution of TISE
[4] Boundary condition
[5] Normalization
[6] Energy
บริเวณ
เนื่องจากพลังงานศักย์มีค่าเป็นอนันต์ ทำให้เทอม
แต่เนื่องจาก
บริเวณ
ทำนองเดียวกันกับบริเวณที่
จะเห็นว่าบริเวณภายนอกบ่อมีฟังก์ชั่นคลื่นเป็นศูนย์ทั้งสองบริเวณ เมื่อหาค่า
บริเวณ
เนื่องจากพลังงานศักย์ในบริเวณภายในบ่อมีค่าเป็นศูนย์ สมการชเรอดิงเงอร์จึงลดรูปเหลือ
หรือ
ให้
สังเกตว่าสมการชเรอดิงเงอร์เป็นสมการเชิงอนุพันธ์อันดับที่ 2 การหาผลเฉลยสามารถทำได้หลากหลายวิธี และหนึ่งในนั้นคือการเดาผลเฉลยขึ้นมาแล้วแทนลงไปในสมการตั้งต้น เมื่อแทนเข้าไปแล้วหากทำให้สมการเป็นจริงก็แสดงว่าผลเฉลยนั้นเป็นผลเฉลยของสมการตั้งต้น โดยในกรณีนี้ทดลองเดาผลเฉลยที่เมื่อหาอนุพันธ์สองครั้งแล้วได้กลับมาเป็นฟังก์ชั่นเดิมคือ
จะได้ว่าผลเฉลยที่เป็นไปได้มี 2 ฟังก์ชั่นด้วยกัน คือ
เมื่อ
Infinite square well (particle in a box) - Slide.
[1] The Schrodinger equation in 1 D
[2] Infinite square well potential
[3] Solution of TISE
[4] Boundary condition
[5] Normalization
[6] Energy