แปล paper Lutz



แปล

ลางกรางค์เจียนไคแรลที่เป็นไปตามสัมพัทธภาพพิเศษของไอนสไตน์ถูกใช้บรรยายการกระเจิงของเคออน – นิวคลีออน Constraints จากส่วนไพออน – นิวคลีออน และการคู่ควบของ axial – vector แบบคงที่ของสถานะแบรีออนแบบออคเตท เราแก้สมการ Bethe – Salpeter โคแวเรียนแบบช่องคู่ควบด้วยอันตรกิริยา kernel แบบสั้นที่ไคแรลอันดับ Q3 เมื่อรวมเทอมเหล่านั้นสิ่งที่สำคัญก็คือ ข้อจำกัดของ QCD ที่จำนวนขนาดใหญ่ สถานะแบรีออน decuplet เป็นส่วนสำคัญเพราะเมื่อรวมกับสถานะแบรีออนแบบออคเตท พวกมันจะฟอร์มจำนวนขนาดใหญ่ Nc ของแบรีออนที่สถานะพื้นของ QCD ในส่วนของการพัฒนาทางเทคนิคนั้นจะลดจำนวนไคแรลโดยการหักออกด้วยมิติ regularization ซึ่งแสดงให้เห็นกฎการนับจำนวนไคแรลแบบโคแวเรียน ผลกระทบของการแตกสลายของสมมาตร SU(3) เป็นสิ่งที่ควบคุมได้ดีโดยการรวมไคแรลและการกระจายจำนวนขนาดใหญ่ Nc แต่ยังคงต้องสร้างกฎที่ดีมากในการทำความเข้าใจผลที่ได้มาจากการทดลอง เราประสบความสำเร็จอย่างดีเยี่ยมในการอธิบายข้อมูลที่ค่าโมเมนตัมในแลบเฟรมประมาณ 500 เมกกะอิเลคตรอนโวล